ภาษีมรดก หลายๆคนอาจจะไม่เคยคิดวางแผนภาษีมรดก เพราะคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว เพราะคิดว่าตัวเองมีทรัพย์สินไม่เยอะจะทำภาษีมรดกไปทำไม ภาษีมรดกไม่ใช่เฉพาะคนรวยที่จะต้องทำและคิดวางแผน แต่เป็นเรื่องที่ทุกคนต้องรู้ไว้ เรื่องที่ต้องรู้เกี่ยวกับภาษีมรดกคือ
นอกจากนี้สิ่งที่เราต้องทำเกี่ยวกับภาษีมรดกคือ
- จัดทำทะเบียนทรัพย์สิน และประเมินมูลค่าทรัพย์สิน
- จัดทำพินัยกรรม
- วางแผนการเงินด้วยการซื้อประกันชีวิต
- ประมาณการผลกระทบจากวันที่ครอบครัว หรือกิจการที่ไม่มีเราเพื่อเตรียมการ
- วางรากฐานแก่บุตรหลาน
รูปแบบและขั้นตอนการวางแผนภาษีมรดก
- การวางแผนมรดกด้วยพินัยกรรม เป็นรูปแบบการวางแผนภาษีมรดกสำหรับผู้ที่มีทรัพย์สิน เช่น ธุรกิจ บ้าน ที่ดิน และอื่นๆ และต้องการจัดการทรัพย์สินในรูปแบบพินัยกรรม เพื่อระบุให้ชัดเจนว่าจะให้ทรัพย์สินแก่ใคร เมื่อผุ้ทำพินัยกรรมเสียชีวิตลง เพื่อที่ทนายจะได้แบ่งมรดกให้แก่ทายาทที่ระบุไว้ในพินัยกรรม
- พินัยกรรมเงินสด กรมธรรม์ประกันชีวิตให้ประโยชน์หลายอย่างในการใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการภาษีมรดก
- เพิ่มมูลค่าเงินสด
- ระบุผู้รับและจำนวนเงิน
- ปลอดภาษี
- ปลอดเจ้าหนี้
- รวดเร็ว
- ไม่ผ่านกระบวนการทางศาล
กรณีที่คุณจากไปโดยไม่ได้ทำพินัยกรรมทิ้งไว้ หรือมีพินัยกรรมแต่หาไม่พบ ทรัพย์สินของคุณจะถูกจัดสรรให้แก่ทายาทตามลำดับและตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ดังนี้
- บุตรและคู่สมรส
- บิดา มารดา
- พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
- พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
- ปู่ ย่า ตา ยาย
- ลุง ป้า น้า อา
วัตถุประสงค์ในการวางแผนภาษีมรดก
- เพื่อมอบทรัพย์สินให้แก่คนที่รักตามเจตนารมณ์
- เพื่อส่งต่อธุรกิจให้ทายาทอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อปกป้องทรัพย์สินครอบครัว
- เพื่อวางแผนภาษีมรดก
อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
เกษตรกรรม
บ้านพักอาศัย
ที่ดินรกร้างว่างเปล่า